ความ สำคัญ ของ ธุรกิจ ขนาด ย่อม

1. ช่วยให้ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมได้ใช้วิชาชีพในทางที่ถูกต้องเหมาะสมต่อลูกค้า ลูกจ้าง พนักงานตลอดจนมีมีความสำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบในงานของตน 2. ช่วยส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าและบริการให้มีคุณภาพเป็นที่เชื่อถือและไว้ใจได้ของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด 3.

เจาะลึกปัญหาของธุรกิจ SMEs ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - Research Cafe'

  • ค่า คลอด โรง พยาบาล นครินทร์
  • การบริหารธุรกิจขนาดย่อม - แม็คเอ็ดดูเคชั่น
  • ตู้ เย็น เสียง ดัง เพราะ อะไร
  • Writer - ความสำคัญของจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
  • ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจทั่วไป | krukotchaporn
  • หน่วยที่ 9 ทำเล่ที่ตั้งสำหรับธุรกิจขนาดย่อย - Pmtech3207_20072

สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว การประกอบธุรกิจขนาดย่อมเกิดจากบุคคลในครอบครัวร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และความรับผิดชอบ ตลอดจนความสัมพันธ์ทีดีภายในครอบครัว 4. มีอิสระในการทำงาน การประกอบธุรกิจด้วยตนเองย่อมมีอิสระในการทำงานด้วยการเลือกเวลาการทำงาน อาชีพ การลงทุน การจัดการด้วยตนเอง 5. เป็นที่ยอมรับของสังคม เจ้าของกิจการย่อมมีสถานภาพทางสังคมที่ดี เป็นที่ยอมรับนับถือของชุมชน สังคมในท้องถิ่น เช่น เป็นสมาชิกสมาคมต่าง ๆ 4. คุณสมบัติของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อม บุคคลที่มีความสนใจ และเตรียมตัวเข้าสู่ธุรกิจขนาดย่อม ต้องมีคุณสมบัติของนักธุรกิจที่ดี คือ 1. มีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับงานอาชีพ จากการศึกษาเล่าเรียนและการทำงานจะทำให้มีความรู้และประสบการณ์พื้นฐาน สามารถนำมาประยุกต์กับธุรกิจของตนเองได้ 2. มีความพร้อมที่จะทำงานหนัก มีความอดทน 3. มีมนุษยสัมพันธ์ มีอัธยาศัยที่ดีกับบุคคลทั่วไป 4. สื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีภาวะผู้นำ 6. มีความภาคภูมิใจในผลงาน 7. มีความรับผิดชอบ 8. กล้าเสี่ยงและกล้าตัดสินใจ สรุปคุณสมบัติของผู้ประกอบการที่ต้องการความสำเร็จ คือ มีความพร้อมด้านจิตใจ ความรู้ความสามารถ มีมนุษยสัมพันธ์ ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร และความสามารถในการบริหารจัดการ 5.

ศ. 2543 โดยตามกฎหมายฉบับนี้นั้น ได้ ให้อำนาจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในการกำหนดว่าใครบ้างที่จะได้ ขึ้นชื่อว่า เข้าข่ายเป็น ธุรกิจ SME ซึ่งจะประกาศออกมาเป็นกฎกระทรวง ก่อนหน้านี้จะใช้เกณฑ์ในการวัดว่า ธุรกิจไหนเป็น ธุรกิจ SME ดังนี้คือ 1. กิจการที่ดำเนินงานเกี่ยวกับการผลิตหรือบริการ มีมูลค่าทรัพย์สินถาวรไม่เกิน สองร้อยล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน สองร้อยคน 2. กิจการค้าส่ง ที่มีทรัพย์สินถาวรไม่เกิน หนึ่งร้อยล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน ห้าสิบคน 3. กิจการค้าปลีก ที่มีมูลค่าทรัพย์สินถาวรไม่เกิน หกสิบล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน สามสิบคน แหล่งอ้างอิง:

คงเคยได้ยิน ได้ฟังกันมาบ้างแล้ว และอาจจะสงสัย หรือว่ามึนงง ไอ้เจ้า "เอสเอ็มอี" แท้ที่จริงนั้น sme คืออะไร กันแน่ ทำไมผู้ใหญ่หลายท่าน ถึงพยายามที่จะช่วยกัน ส่งเสริมและผักดันให้มีการลงทุน ในธุรกิจ เอสเอ็มอี คำว่า เอสเอ็มอี นั้นเป็นคำย่อ ของคำว่า Small and Medium Enterprise (SME) ในภาษาอังกฤษนั่นเอง สำหรับคำที่ใช้กันอย่างเป็นทางการ ของภาษาไทยคือ "วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม" นั่นเอง สำหรับประเทศไทย ได้มีกฎหมาย ธุรกิจเอสเอ็มอี ประกาศออกมาอย่างเป็นทางการแล้ว ซึ่งเรียกว่า พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม พ. ศ. 2543 โดยตาม กฎหมายฉบับนี้นั้น ได้ให้อำนาจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในการกำหนดว่า ใครบ้างที่จะได้ ขึ้นชื่อว่า เข้าข่ายเป็น ธุรกิจเอสเอ็มอี ซึ่งจะประกาศออกมาเป็นกฎกระทรวง ก่อนหน้านี้ จะใช้เกณฑ์ ในการวัดว่า ธุรกิจไหนเป็น เอสเอ็มอี ดังนี้คือ กิจการที่ดำเนินงานเกี่ยวกับการผลิตหรือบริการ มีมูลค่าทรัพย์สินถาวรไม่เกิน สองร้อยล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน สองร้อยคน กิจการค้าส่ง ที่มีทรัพย์สินถาวรไม่เกิน หนึ่งร้อยล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน ห้าสิบคน กิจการค้าปลีก ที่มีมูลค่าทรัพย์สินถาวรไม่เกิน หกสิบล้านบาท มีการจ้างงานไม่เกิน สามสิบคน

แนวโน้มธุรกิจ

ดอก ดา หลา ความ หมาย โอน บาท เนต กรุง ศรี

การขาดซึ่งจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการ (Lack of Entreprenuership) การเป็นผู้ประกอบการจะต้องมีคุณสมบัติหลายประเภท เช่น ความเป็นผู้นำ การกล้าได้กล้าเสีย ต้องเป็นนายของตัวเอง การรักความท้าทาย รักความเป็นอิสระ มีระเบียบวินัยในตัวเองสูง 2. การจัดการและการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ความสามารถในด้านการจัดการองค์กร การเงิน การบัญชี การตลาด บุคลากร ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของ SMEs 3. การขาดบุคลากรหรือผู้เชี่ยวชาญธุรกิจ SMEs มักจะเริ่มต้นจากความถนัดหรือความชำนาญเฉพาะด้านของผู้ประกอบการ นั้นตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและดำเนินต่อไป จนกว่าจะเริ่มเข้าที่เข้าทาง 4. การขาดแรงงานทีมีฝีมือแรงงานที่มีฝีมือ (Skilled Worker) คือจุดเริ่มต้นของคุณภาพสินค้า ซึ่งพนักงานทีมีฝีมือจะต้องได้รับการฝึกฝน ดังนั้นฝู้ประกอบการรายใหม่จึงต้องสร้างและสงวนแรงงานเหล่านี้ให้ได้ 5. ต้นทุนการผลิตสูงการจัดการที่ไม่ดี การผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ ไม่มีการใช้เครื่องจักรหรือเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจะทำ ให้ต้นทุนของสินค้าสูง ซึ่งนำไปสู่การเสียเปรียบในเชิงการค้ากับคู่แข่ง 6. การแข่งขันสูงสภาพการเศรษฐกิจและแข่งขันในปัจจุบัน เป็นสาเหตุให้เกิดการแข่งขันกันสูงมากเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจของตนเอง ดังนั้นผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่เข้ามาในตลาดที่มีการแข่งขันกันสูง จึงมีความยากลำบากในการดำเนิน ธุรกิจ 7.

กํา ไล ส แตน เล ส แท้

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่ำการบริหารจัดการการผลิตไม่เหมาะสม ทำให้เกิดสูญเสียในการผลิต ผลผลิตต่ำ ไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งนำไปสู่สินค้าไม่มีคุณภาพและไม่สามารถแข่งขันได้ 8. ปัญหาของระบบราชการ ก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่ทั่วไปว่า ปัญหาด้านเอกภาพและการประสานงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการส่งเสริมพัฒนา SMEs ก็ต้องมีความสำคัญด้วย ดังนั้นเมื่อเราได้ทราบปัญหาหลักของธุรกิจ SMEs แล้ว ก็จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และนำไปสู่การพัฒนาต่อไป ประโยชน์ของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจขนาดย่อมมีการกระจายอยู่ทั่วประเทศ เนื่องจากมีขนาดเล็กดำเนินงานได้ง่าย จึงมีบทบาทสำคัญต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศดังนี้ 1. สร้างงานใหม่ เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทำให้เกิดภาวะคนว่างงาน จำเป็นต้องหาอาชีพใหม่ให้กับตนเอง ส่วนใหญ่เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดย่อม เพราะต้นทุนการดำเนินงานต่ำ แรงงานใช้จากบุคคลในครอบครัว มีความเป็นอิสระในการทำงาน ฯลฯ และธุรกิจขนาดย่อมสามารถเติบโตเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ในอนาคตต่อไปได้ 2. สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ธุรกิจขนาดย่อมเป็นองค์กรของผู้ผลิตรายใหม่ที่มีความพยายามสร้างสรรค์ผลงานของตนเองด้วยการลองถูกลองผิด ก่อนที่จะขยายกิจการเมื่อผลิตภัณฑ์นั้นได้รับการยอมรับ เช่น การผลิตสบู่สมุนไพร การผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา ฯลฯ 3.

Fri, 13 Aug 2021 18:35:04 +0000