วางแผน ซื้อ บ้าน ซื้อ รถ

"ดอกเบี้ย" บ้านและรถมีวิธีการคำนวณที่ต่างกัน.. สินค้าที่มนุษย์เงินเดือนชาวไทยนิยมซื้อแบบผ่อนชำระ ติดแบบอันดับต้น ๆ ก็คือ "รถยนต์" และ "บ้าน" อันนี้ใคร ๆ ก็รู้อยู่แล้ว! แน่นอนว่าเมื่อเราซื้อรถยนต์หรือบ้านแบบผ่อนชำระไม่มีผ่อน 0% แทบจะไม่มีให้เห็นเลย แต่เดี๋ยวนี้ก็มีเป็นโปรโมชั่น 0% เฉพาะปีแรก แล้วค่อยไปเก็บเยอะๆทีหลังก็มีเหมือนกัน แต่รู้หรือไม่ว่าเราอาจจะเห็นว่า "ดอกเบี้ย" รถยนต์ที่เราเห็นอาจจะเรียกเก็บถูกกว่า แต่จริง ๆ แล้ว ระหว่าง "ดอกเบี้ยกู้ซื้อรถ" กับ "ดอกเบี้ยกู้ซื้อบ้าน" มีวิธีการคิดดอกเบี้ยกันอย่างชัดเจน พวกเราลองมาดูกันหน่อยว่า 2 แบบนี้ มีความแตกต่างกันยังไงบ้าง?

วิธีการคำนวณ "ดอกเบี้ย" เมื่อซื้อบ้านและรถ - Money Buffalo

ปัญหาโลกแตก รถหรือบ้าน ซื้ออะไรก่อนดี? รถและบ้าน เป็นอีกความฝันของใครหลายๆ คน เพราะเมื่อเราเริ่มมีรายได้แล้ว ก็ย่อมอยากนำไปใช้จ่ายและสร้างไลฟ์สไตล์ในแบบฉบับของตัวเอง แต่การซื้อรถหรือบ้านนั้นเป็นปัญหาโลกแตกไม่ใช่น้อย เนื่องจากเป็นของที่มีราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับเงินเดือนและเงินเก็บที่มีอยู่ และแน่นอนว่าอาจไม่สามารถซื้อได้ด้วยเงินสดที่มีอยู่ แต่ต้องใช้การ กู้เงิน และผ่อนชำระกับธนาคาร เราจึงต้องสำรวจเป้าหมาย และความพร้อมของตัวเราให้ดีเสียก่อน เพราะการตัดสินใจซื้อรถหรือบ้านนั้น อาจส่งผลกับชีวิตเราได้ทั้งในแง่ลบและบวก แต่เราต้องดูอะไรบ้างนั้น วันนี้จะมาเคลียร์ให้ชัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและช่วยให้การตัดสินใจง่ายขึ้น 1.

00 ประมาณวงเงินที่ต้องการกู้ ยอดเงินผ่อนสินเชื่อ (โดยประมาณ) คำแนะนำในการวางแผน 1 - ระบุอายุและความสามารถในการออมเงินของท่าน เพื่อเป็นข้อมูลสถานภาพทั่วไปตั้งต้นในการประเมิน 2 - ระบุรายละเอียดของบ้านทั้งราคา เงินดาน์ และเวลาที่คาดว่าจะมีการซื้อ 3 - ในการวางแผนเพื่อการซื้อบ้านจะต้องใช้ข้อมูลสินเชื่อที่คาด และอัตราดอกเบี้ยเงินเฟ้อที่คาดการณ์ในการประเมินด้วย 4 - ระบบแสดงผลลัพธ์ของการวางแผน ส่วนต่างเงินดาวน์บ้าน ณ สิ้นสุดการออม ประมาณการวงเงินกู้ที่ได้รับ และยอดเงินผ่อน 5 - ผลลัพธ์ของการประเมินสามารถปรับเปลี่ยนตัวแปรในการวางแผนใหม่ เพื่อให้ได้มูลค่าเงินออมบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ได้

ควรมีรถ มีบ้าน ก่อน 30 จริงหรือ?

จากการคำนวณ สินทรัพย์ – หนี้สิน = ความมั่งคั่ง 3. "เตรียมเงินฉุกเฉิน" อย่างน้อย 3 – 6 เท่าของรายจ่าย ถ้าคุณโชคร้าย ถูกออกจากงาน ญาติพี่น้องเจ็บป่วย ต้องมีค่าใช้จ่ายใหญ่ๆ กระทันหัน รายได้หายไป แต่รายจ่ายยังคงอยู่ เราควรเตรียมเงินไว้อย่างน้อย 3 -6 เท่าของรายจ่ายจำเป็น จะทำให้เป็นจุดปลอดภัยแรกๆของชีวิต เงินฉุกเฉินควรเก็บไว้ที่ปลอดภัย สภาพคล่องสูง ถอนเป็นเงินสดได้ทันทีเลย ตามที่ต้องการและมีความเสียงต่ำ อย่างเช่น กองทุนรวมตลาดเงิน หรือบัญชีเงินฝากปกติ 4. "รู้ความเสี่ยงของตัวเอง" และเตรียมการไว้ก่อน หลายคนละเลยตรงนี้ไปให้ความสำคัญกับการประกันทรัพย์สิน อย่างบ้าน รถ มากกว่าประกันตัวเอง อย่างประกันชีวิตและสุขภาพ ถ้าเกิดผู้นำครอบครัว เป็นอะไรขึ้นมา หรือเจ็บป่วยใหญ่ขึ้นมา ยิ่งอยู่ในยุค Covid-19 ด้วยถ้าไม่ได้วางแผนมีทุนประกันชีวิต และสุขภาพเพียงพอ ถ้าเราต้องนอนรักษารพ. นานๆ ไม่เพียงแต่รายได้หายไป รายจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่สูงมาก อาจทำให้ครอบครัวเกิดวิกฤตทางการเงินได้เลย อย่าลืมวางแผนปกป้องรักษาเงินที่หามาได้ด้วยนะ 5. "ตั้งเป้าหมายชีวิต" และ "เป้าหมายการเงิน" ของตัวเอง บางคนไม่รู้จะเก็บเงินเพื่ออะไร ไม่มีเป้าหมายในชีวิตจะทำให้การเก็บเงินของเรา ล่องลอย ไร้จุดหมาย ลองตั้งเป้าหมายดูจะทำให้เราเก็บเงินอย่างมีเป้าหมาย และรู้ว่าต้องเก็บเงินเพื่ออะไร และควรจะเก็บไว้ที่ไหนดี?

ลงทุนกับ "ความรู้" ให้ตัวเองเสมอ เดี๋ยวนี้มีความรู้การวางแผนการเงิน และการลงทุนให้เรียนฟรี แถมบ้างที่มีประกาศนียบัตรให้ด้วย ในเว็บไซต์ เพจการเงินการลงทุนต่างๆ Youtube และ Podcast อย่าง SET Education และอื่นๆ อยากรู้อะไรก็เรียนเรื่องที่เราสนใจได้เลย ลองหาเวลาว่างอย่างน้อยอาทิตย์ละ 3-5 ชั่วโมงมาเรียนรู้ดู จะทำให้มีความสุขกับการลงทุนและการวางแผนการเงินมากขึ้น

Guide Financial Planing 9 วิธี "วางแผนการเงิน" พร้อมชนทุกความเสี่ยงในชีวิต "การวางแผนการเงิน" เรื่องที่ทุกคนต้องใส่ใจ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ COVID-19 ครั้งนี้ทำให้เราเข้าใจ และเห็นภาพเรื่องของการ "การวางแผนการเงิน" ชัดเจนมากขึ้น หลายคนก็เจอผลกระทบในช่วงนี้เช่นกัน มาลองทบทวน 9 วิธี วางแผนการเงินอีกครั้ง… 1. "จดบันทึก" รายรับรายจ่าย 90% ของวัยทำงานจะติดปัญหา "ใช้จ่ายเดือนชนเดือนไม่มีเงินเหลือเก็บ" ลองฝึกวินัย จดบันทึกรายรับ รายจ่าย รายวันดู จะทำให้รู้นิสัยการใช้จ่ายว่าอันไหน จ่ายจำเป็น อันไหนจ่ายฟุ่มเฟือย ลองจดดูนะครับมันช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ได้จริงๆ และเดี๋ยวนี้มีแอปการเงินจดรายรับ รายจ่าย ได้ง่ายและสะดวกด้วย จะทำให้คิดก่อนใช้จ่ายทุกครั้ง และลองทำเป็นงบรายรับ รายจ่ายทั้งปีดูด้วยนะ จะดูว่าทั้งปีเราจะเหลือเงินกี่บาท จะไปวางแผนทำอะไรได้อีก 2. "ทำงบการเงิน" ของตัวเอง บางคนทำงานมาหลายปี ตรวจแต่สุขภาพร่างกาย แต่ไม่เคยตรวจสุขภาพการเงินเลยว่าปัจจุบันเรามีสภาพคล่องพอไหม? มีหนี้สินเกินตัวหรือปล่าว? การออมเราดีหรือยัง? ทำงานมาตั้งนานแล้วสินทรัพย์ตัวเองมีอะไรบ้าง? ลองบันทึกสินทรัพย์ที่คุณมีทั้งหมด (เช่น เงินในบัญชี เงินลงทุน มูลค่าบ้าน รถ ของส่วนตัวที่มีต่างๆ) และหนี้สินทั้งหมด (เช่น มูลค่าหนี้คงค้าง บ้าน รถ บัตรเครดิต) จะทำให้รู้ว่าทำงานมาหลายปีแล้วเรามีความมั่งคั่งที่แท้จริงเท่าไหร่?

  • เล ส รวย ทรัพย์ แสน ล้าน 4 บาท
  • วิธีการคำนวณ "ดอกเบี้ย" เมื่อซื้อบ้านและรถ - Money Buffalo
  • เย ด คา เก ง ใน
  • เงินทองต้องวางแผน - ซื้อบ้านอย่างไรให้มีความสุข
  • B20 มี ปั้ ม ไหน บ้าง
  • Vigo โก้ ปี 2004 4 ประตู 5
  • Adobe acrobat x pro โหลด ฟรี latest
  • สี เลิ ฟ เบิ ร์ ด
  • ทีวี จอ แบน ราคา ไม่ เกิน 2000
  • เครื่อง ซัก ผ้า lg t2514vs2m pantin seine
  • Marshall EMBERTON Bluetooth Speaker : ที่สุดของลำโพงตัวเล็กปี 2020 รีวิวชัด คัดของดี สั่งง่าย ส่งไว ได้ของชัวร์
  • ขายแท็กซี่ป้ายแดง อันดับ 1 ยอดขายแท้กซี่ -

สำหรับใครที่กำลังวางแผนการใช้เงิน ว่าควรซื้อบ้าน หรือซื้อรถก่อนดี วันนี้เรามี 10 เหตุผลดีๆว่าทำไมถึงควรเริ่มจากการซื้อรถยนต์ก่อน แต่ทั้งนี้ก็อยู่ที่ความเหมาะสมจากปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย ลองไปพิจารณากันดูเลยครับ 1. ซื้อรถ กู้ง่ายกว่า เพราะมีระยะการผ่อนชำระรถยนต์สั้นกว่าผ่อนบ้าน ทำให้การขอสินเชื่อเช่าซื้อรถจึงง่ายกว่าซื้อบ้าน โดยส่วนใหญ่จะขอสินเชื่อกัน 5 – 7 ปี 2. ซื้อรถ ผ่อนสั้นกว่า อย่างน้อยผ่อนรถไม่เกิน 5 ปี หนี้ก็จะหมดเร็วกว่าซื้อบ้านที่สามารถผ่อนได้กว่า 30 ปี และถ้าคุณมีเงินก้อนโปะค่างวดรถ เงินต้นก็จะยิ่งหมดเร็วขึ้น ปลดหนี้ได้ไวขึ้น 3. ซื้อรถ ง่ายกว่าซื้อบ้าน เพราะมีราคาที่ถูกกว่าบ้าน เป็นหนี้ก้อนเล็ก ที่เราสามารถบริหารหนี้ได้ง่ายกว่า 4. ซื้อรถ ก่อนได้เครดิต เมื่อเราซื้อรถและผ่อนชำระไม่ขาดตกบกพร่องทุกเดือน มีประวัติการผ่อนที่ดี จะทำให้คุณมีเครดิตในการกู้ซื้อบ้านได้ง่ายขึ้น 5. เป็นหนี้ในระยะเวลาที่สั้น เพราะบ้านส่วนใหญ่ต้องผ่อนถึง 30 ปี และมีดอกเบี้ยที่แพง 6. การซื้อรถช่วยลดค่าใช้จ่ายค่าครองชีพได้มากกว่า หากซื้อบ้านหรือผ่อนบ้านที่ใกล้ที่ทำงาน (กรณีอยู่ในเมือง) อาจต้องจ่ายค่าผ่อนบ้านหลักหมื่นขึ้นไป อาจกระทบต่อการบริหารนี้ในระยะยาว 7.

Wed, 11 Aug 2021 22:34:20 +0000