หลัก ธรรม ใน การ พัฒนา ตนเอง

  1. การพัฒนาวินัยในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและธรรมาภิบาลในสถา…
  2. ธรรมะในการบริหารตนเอง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต - กลยุทธ์การบริหารตนเอง
  3. บทที่ 6 หลักธรรมเพื่อพัฒนาคน พัฒนางานและสังคม - aujutarat

ความคิดที่ดี เป็นความคิดที่นำความสุขมาให้ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น เป็นความคิดทางบวก มองทุกสิ่งในแง่ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งส่วนตนและส่วนรวม เช่น เมื่อถูกตำหนิติเตียน ก็ไม่โกรธ ไม่รู้สึกท้อแท้ ไม่เกิดปมด้อย แต่กลับรู้สึกขอบคุณผู้ตำหนิ เพราะคิดว่าเขาช่วยบอกหรือแนะนำในส่วนที่เรายังบกพร่องอยู่ เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป ทำให้มองผู้ตำหนิเป็นมิตรไม่ใช่ศัตรู ๒.

การพัฒนาวินัยในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและธรรมาภิบาลในสถา…

1 หมั่นประชุมปรึกษาหารือกันบ่อยๆ 3. 2 พร้อมเพียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันเลิกประชุมพร้อมกัน พร้อมเพรียงในการช่วยกิจการงานที่เกิดขึ้น 3. 3 ไม่ลุแก่อำนาจบัญญัติในสิ่งที่หน่วยงานไม่ได้บัญญัติไว้ หรือไม่ถอดถอนยกเลิกในสิ่งที่ตกลงร่วมกันและที่ได้บัญญัติไว้แล้ว 3. 4 เคารพผู้เป็นใหญ่ที่เป็นประธานที่เป็นใหญ่ มีประสบการณ์มามาก ปละเคารพเชื่อฟังแล้วถือปฏิบัติ 3. 5 ให้เกียรติและคุ้มครองสตรี ไม่ข่มแหงรังแก ไม่ลุอำนาจแก่ความอยากที่เกิดขึ้น 3. 6 เคารพบูชาสักการะปูชนียสถาน อนุสรณ์สถาน อันเป็นศูนย์รวมใจของประชาชนและทำการบูชาตามประเพณี 3. 7 จัดการให้ความอารักขา บำรุง คุ้มครองแก่บรรพชิตผู้ทรงศีล ๔. กัลยาณมิตตธรรม ๗ กัลยาณมิตตธรรม หมายถึง องค์คุณของกัลยาณมิตร คุณสมบัติของมิตรดีหรือมิตรแท้ คือท่าน ที่คบหรือเข้าหาแล้วจะเป็นเหตุให้เกิดความดีงามและความเจริญ ในที่นี้หมายเอาเพื่อนในหน่วยงานซึ่งทุกคนต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นเพื่อนที่ดีต่อกัน ซึ่งมีหลักปฏิบัติ ๗ ประการ ดังนี้ 4. 1 ปิโย 4. 2 ครุ 4. 3 ภาวนีโย 4. 4 วัตตา 4. 5 วจนักขโม 4. 6 คัมภีรัญ จะ กะถัง กัตตา 4. 7 โน จัฏฐาเน นิโยวะเย หลักธรรมเพื่อการพัฒนาสังคม ๑. ธรรมโลกปาล หรือธรรมคุ้มครองโลก ๒ ประการ 1.

เป็นผู้มีความเพียร ๗. เป็นผู้มีสมาธิ มีจิตใจมั่นคง ๘.

อ. ปยุตโต, 2532) เสนอวิธีการที่จะพัฒนาตนไปสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม เรียกว่า "รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาตน" ไว้ 7 ประการ ดังนี้ 1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญาในการวิเคราะห์ พิจารณาในการเลือก เริ่มจากการเลือกคบคนดี เลือกตัวแบบที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลที่มีคุณค่า เรียกว่า ความมีกัลยานมิตร (กัลยานมิตตา) 2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต มีการวางแผนและจัดการกิจการงานต่างๆ อย่างมีระบบระเบียบ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยศีล (ศีลสัมปทา) 3. ถึงพร้อมด้วยแรงจูงใจให้สร้างสรรค์ มีความสนใจ มีความพึงพอใจ มีความต้องการจะสร้างสรรค์กิจการงานใหม่ๆ ที่เป็นความดีงามและมีประโยชน์ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทสัมปทา) 4. มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ ผู้มีความเชื่อในตนว่าสามารถจะพัฒนาได้ จะมีความงอกงามถึงที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า ทำให้ตนให้ถึงพร้อม (อัตตสัมปทา) 5. ปรับเจตคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ ทำให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทำความเห็นความเข้าใจให้ถึงพร้อม (ทิฎฐิสัมปทา) 6. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสำนึกแห่งความไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่าของเวลาและใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท (อัปปมาทสัมปทา) 7.

ธรรมะในการบริหารตนเอง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต - กลยุทธ์การบริหารตนเอง

อิทธิบาท ๔ เป็นธรรมที่เป็นแนวปฏิบัติเพื่อทำให้เกิดความสำเร็จ ซึ่งมี ๔ ประการด้วยกัน บุคคลผู้ใดยึดหลักอิทธิบาท ๔ ในการเรียน การทำงาน หรือการบริหารกิจการ ย่อมทำให้งานที่กำลังดำเนินอยู่หรือรับผิดชอบอยู่ประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์ ฉันทะ แปลว่า ความพอใจ และถ้าจะให้เข้าใจง่ายต้องแปลว่า ความรักงาน หรือเต็มใจ วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม จิตตะ คือ ตั้งใจทำ หมายถึง คิดถึงงานที่ได้ลงมือทำไว้แล้วตลอดเวลา เราใจจดจ่อที่งานนั้น วิมังสา เข้าใจทำนั่นคือทำงานด้วยการใช้ปัญญา ทำงานอย่างฉลาด ๒. ฆราวาสธรรม เป็นหลักธรรมที่ประชาชนคนธรรมดาทั่วไปจำเป็นจะต้องมีไว้เพื่อเป็นหลักยึดในการดำเนินชีวิต เหมือนเป็นอาภรณ์ประดับกายที่มีค่า ทำให้เป็นคนที่มีลักษณะน่าเชื่อถือ น่าเคารพ น่าศรัทธา น่าไว้วางใจ เป็นหลักธรรมที่เสริม และไปด้วยกันดีกับอิทธิบาท 4 ทำให้เพิ่มพลังในการ ทำงาน ๒. ๑ สัจจะ คิดทำอะไรให้จริงจังและจริงใจ ทุ่มหมดตัว ไม่ยั้ง ไม่เหยาะแหยะ ได้แก่ ๒. ๒ ทมะ คือ การข่มใจ เป็นการรู้จักบังคับใจต่อตัวเอง หรือฝึกปรับปรุงตัวเอง ๒. ๓ ขันติ คือความอดทนเป็นลักษณะบ่งถึงความเข้มแข็งทางใจ ๒. ๔ จาคะ แปลว่า เสียสละ หมายถึง ตัดใจหรือตัดกรรมสิทธิ์ของตน ๓.

การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม ๒. การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ความดีนั้น ๓. การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริตไม่ว่าจะด้วยประการใด ๔.

หน่วยที่ 6 เรื่อง หลักธรรมเพื่อพัฒนาคนพัฒนางาน และสังคม หลักธรรมเพื่อการพัฒนาคน ศาสนาทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายหลักคือ การพัฒนาคนหรือการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ให้เป็น ผู้เพียบพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ ในอันที่จะดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ความเจริญ และประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ภายใต้ระเบียบคำสอนและจุดมุ่งหมายของแต่ละศาสนา ในส่วนของพระพุทธศาสนาได้กำหนดหลักธรรมในการพัฒนาคนที่สำคัญ คือ โอวาท ๓ ไตรสิกขา ๓ สันโดษ ๓ สุขของคฤหัสถ์ ๔ เบญจศีล-เบญจธรรม สัปปุริสธรรม ๗ และเวสารัชชกรณธรรม ๕ ซึ่งมีรายละเอียดในแต่ละข้อ ดังนี้ ๑. โอวาท ๓ โอวาท หมายถึง ประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่ ๓ ข้อ หลักการส่วนใหญ่ ของโอวาท ๓ มุ่งเน้นให้มนุษย์พัฒนาตนเองในทุกด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มีหลักการสำคัญ ๓ ประการ ดังนี้ 1. 1 ไม่ทีความชั่วทั้งปวง 1. 2 ทำแต่ความดี 1. 3 ทำจิตใจของตนให้สะอาด ๒. ไตรสิกขา ไตรสิกขา หรือสิกขา ๓ หมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำรับศึกษา ให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุขของชีวิต มี ๓ ประการ คือ 2. 1 ศีล (อธิสีลสิกขา) 2. 2 สมาธิ (อธิจิตตสิกขา) 2. 3 ปัญญา (อธิปัญญาสิกขา) ๓.

บทที่ 6 หลักธรรมเพื่อพัฒนาคน พัฒนางานและสังคม - aujutarat

โรง กลั่น ไทย อ อย ล์ สมัคร งาน

4 กระละเว้นจากกการพูดเท็จ พูดโกหก พูดหลอกลวง พูดส่อเสียด พูดยุแหย่ พูดคำหยาบ และพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ 5. 5 ละเว้นจากการดื่ม เสพสิ่งเสพติดและของมึนเมาทุกชนิด อันเป็นที่ตั้งแห่งความแระมาท ๖. เบญจธรรม เบญจธรรมอันดีงามห้าอย่าง คุณธรรมห้าประการ ซึ่งเป็นธรรมที่ปฏิบัติไปพร้อมๆกับเบญจศีล เบญจธรรม ถือเป็นธรรมเกื้อกูลแก่ การรักษาเบญจศีล คือ ช่วยให้การรักษาเบญจศีลสมบูรณ์ขึ้น มี ๕ ประการ ดังนี้ 6. 1 เมตตาและกรุณา 6. 2 สัมมาอาชีวะ 6. 3 กามสังวร 6. 4 สัจจะ 6. 5 สติสัมปชัญญะ ๗. เวสารัชชกรณธรรม๕ เวสารัชชกรณธรรม หมายถึง ธรรมที่ทำให้แกล้วกล้า กล้าหาญ คุณธรรมที่ทำให้เกิดความมั่นใจในการดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จ มี ๕ ประการ คือ 7. 1 ศรัทธา 7. 2 ศีล 7. 3 พาหุสัจจะ 7. 4 วิริยารัมภะ 7. 5 ปัญญา ๘. สัปปุริสธรรม ๗ สัปปุริสธรรม หมายถึง ธรรมที่ทำให้เป็นสัตบุรุษ หรือธรรมที่ทำให้เป็นคนดี เป็นคุณธรรมสำหรับผู้ต้องการพัฒนาตนเอง มี ๗ ประการ คือ 8. 1 ธัมมัญญุตา 8. 2 อัตถัญญุตา 8. 3 อัตตัญญุตา 8. 4 มัตตัญญุตา 8. 5 กาลัญญุตา 8. 6 ปริสัญญุตา 8. 7 ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา หลักธรรมเพื่อการพัฒนางาน หมวดธรรมข้อนี้ เป็ฯหมวดธรรมที่ใช้ในการบริหารจัดการองค์กรให้มีความมั่นคงเจริญก้าวหน้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งเน้นความผูกพันระหว่างคนกับคนได้เป็นอย่างดี จนสามารถก่อให้เกิดความสามัคคีขึ้นในหมู่คณะอีกด้วย พระพุทธศาสนากำหนดหลักธรรมสำคัญสำหรับเพื่อการพัฒนางาน เช่น กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ สมชีวิธรรม ๔ อปริหานิยธรรม ๗ และกัลป์ยาณมิตตธรรม ๗ ๑.

  1. การพัฒนาวินัยในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและธรรมาภิบาลในสถา…
  2. CU TEP ปกติแล้ว อีกกี่วันจึงประกาศผลครับ - Pantip
  3. ธรรมะในการบริหารตนเอง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต - กลยุทธ์การบริหารตนเอง
  4. หลักคุณธรรม จริยธธรรม ศีลธรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ - GotoKnow
  5. บทที่ 6 หลักธรรมเพื่อพัฒนาคน พัฒนางานและสังคม - aujutarat
  6. แนวทาง หวย ลาว 10 4 62
  7. รังสิต แลนด์ คอน โด ทาวน์
  8. พนักงาน ขาย ของ ภาษา อังกฤษ
  9. เหรียญ หลวง พ่อ เคลือบ ปี 15
  10. Laneige cica sleeping mask 60ml ราคา black
  11. บ้าน ลาน สวน รีสอร์ท ชะ อํา เบอร์ โทร
  12. เกม gundam build fighters try island wars

รู้คุณค่าในตัวเอง ประการที่สอง ฝึกทำดี ๑. พูดจาปราศรัย ๒. สงเคราะห์ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ๓. ประพฤติตนเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ๔. การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ ๕. รู้จักการบริหารเวลา

  1. Samsung account ลบ ได้ ไหม
  2. หวย ออก 16 ต ค 62 www
  3. หัว ฉีด มา ส ด้า ไฟ เตอร์
Thu, 12 Aug 2021 09:56:23 +0000