หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7

สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทำให้เป็นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี 1. ธัมมัญญุตา = รู้จักเหตุ ความรู้จักธรรม หรือ รู้จักเหตุ คือ รู้หลักความจริง รู้หลักการ รู้หลักเกณฑ์ รู้กฎแห่งธรรมดา รู้กฎเกณฑ์แห่งเหตุผล รู้จักวิเคราะห์สาเหตุของสถานการณ์และรู้หลักการที่จะทำให้เกิดผล อาทิ นักเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร ต้องปฏิบัติอย่างไร ภิกษุรู้ว่าหลักธรรมข้อนั้นๆ คืออะไร มีอะไรบ้าง พระมหากษัตริย์ทรงทราบว่าหลักการปกครองตามราชประเพณีเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง รู้ว่าจะต้องกระทำเหตุอันนี้ หรือกระทำตามหลักการข้อนี้ จึงจะให้เกิดผลที่ต้องการอันนั้น เป็นต้น 2. อัตถัญญุตา = รู้จักผล ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่งหมาย หรือ รู้จักผล คือ รู้ความหมาย รู้ความมุ่งหมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป็นไปตามหลัก เช่น รู้ว่าหลักธรรมหรือภาษิตข้อนั้นๆ มีความหมายว่าอย่างไร หลักนั้นๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร กำหนดไว้หรือพึงปฏิบัติเพื่อประสงค์ประโยชน์อะไร การที่ตนกระทำอยู่มีความมุ่งหมายอย่างไร เมื่อทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างดังนี้เป็นต้น 3. อัตตัญญุตา = รู้จักตน ความรู้จักตน คือ รู้ว่าตัว เรานั้น ว่ามีสถานภาพเป็นอะไร ฐานะ ภาวะ เพศ กำลัง ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เป็นต้น ว่าขณะนี้ เท่าไร อย่างไร แล้วประพฤติให้เหมาะสม และรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป 4.

หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.2

ทาวเวอร์ ถนนสีลม ทุกวันศุกร์ เวลา 12:00-13:30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ

หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.2

มัตตัญญุตา = รู้จักประมาณ ความรู้จักประมาณ คือ ความพอดี เช่น ภิกษุรู้จักประมาณในการรับและบริโภคปัจจัยสี่ คฤหัสถ์รู้จักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ นักเรียนรู้จักประมาณ กำลังของตนเองในการทำงาน รัฐบาลรู้จักประมาณการเก็บภาษีและการใช้งบประมาณในการบริหารประเทศ เป็นต้น 5. กาลัญญุตา = รู้จักกาล ความรู้จักกาล คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะต้องใช้ในการประกอบกิจ กระทำหน้าที่การงาน เช่น ให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทันเวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา เป็นต้น 6. ปริสัญญุตา = รู้จักชุมชน ความรู้จักบริษัท คือ รู้จักกลุ่มบุคคล รู้จักหมู่คณะ รู้จักชุมชน และรู้จักที่ประชุม รู้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหา ต้องทำกิริยาหรือปฏิบัติแบบนี้ จะต้องพูดอย่างไร ชุมชนนี้ควรสงเคราะห์อย่างไร เป็นต้น 7. ปุคคลปโรปรัญญุตา = รู้จักบุคคล ความรู้จักบุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า มีอัธยาศัย มีความสามารถ มีคุณธรรม เป็นต้น ผู้ใดหยิ่งหรือหย่อนอย่างไร และรู้ที่จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นๆ ด้วยดี ว่าควรจะคบหรือไม่ จะใช้ จะตำหนิ หรือยกย่อง และแนะนำสั่งสอนอย่างไร เป็นต้น

หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.3

หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.8 หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.0
  1. ดี ฟิต รถยนต์ มือ สอง
  2. สัปปุริสธรรม 7: ระเบียบทางสังคมกับสถานการณ์ COVID-19 : โดย ธงชัย สมบูรณ์
  3. ไม่ จ่าย บัตร เครดิต กี่ เดือน ฟ้อง 256 mo tv
  4. Christmas in august ซับ ไทย song
  5. หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.8
  6. เปิด ไฟ คีย์บอร์ด โน๊ ต บุ๊ค acer liquid
  7. หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7 hour
  8. หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.5
  9. หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7 jours
  10. แนะนำ 4 Bluetooth Receiver ยอดนิยม
  11. โต โย ต้า ยา ริ ส มือ สอง รถ บ้าน

หลัก ธรรม สัปปุริส ธรรม 7.1

ไม่ต้องสับสนกังวลพบหมอ อย่าได้รีรอ 14 กักกัน กักกันเพื่อดูให้รู้ติดไหม ถ้าจะช่วยไทยต้องใช่เฝ้าเรือน อย่าไปที่มากหลายหลากผู้คน กินข้าวบ้านตนสุขล้นห่างไกล. ธงชัย สมบูรณ์

สยามรัฐออนไลน์ 8 มีนาคม 2563 12:07 น. ศาสนา-ความเชื่อ "มนุษย์ หมายถึง ผู้ที่มีจิตใจสูง มนุษย์ดำรงตนด้วยวิจารณญาณ ปัญญาญาณ และสัญชาตญาณ ผิดจากสัตว์เดรัจฉานที่ใช้เพียงสัญชาตญาณในการดำรงชีวิต โบราณว่า มนุษย์ลึกซึ้ง และสัตว์ตื้นเขิน และคดโกง แต่ซื่อตรง" "พระวิเชียรโมลี" เจ้าอาวาสวัดหนังราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร อธิบายลักษณะของมนุษย์ และความแตกต่างระหว่างมนุษย์กับสัตว์ ในโอกาสที่มาแสดงธรรมบรรยายใน โครงการ "เรายกวัดมาไว้ที่เซเว่นฯ" จัดโดย บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้ก่อตั้งร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ในประเทศไทย ที่ดำเนินอย่าง ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 24 ณ อาคารซี. พี.

  1. ครีม รู จิ คิ ส
  2. ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป 4 ท รูป ลูก ปัญญา
  3. การ พยาบาล ก่อน ผ่าตัด mrs.fr
  4. ผง โกโก้ ทิว ลิ ป ราคา แม็คโคร
  5. ผื่น ขึ้น ตาม ตัว คัน เกิด จาก
Thu, 12 Aug 2021 11:14:08 +0000